เกี่ยวกับ กรุงเทพฯ250
พื้นที่นำร่อง
ย่านกะดีจีน-คลองสาน
ย่านท่าพระจันทร์-ท่าช้าง-ท่าเตียน
ย่านโยธี-ราชวิถี
ย่านทองหล่อ-เอกมัย
พื้นที่ยุทธศาสตร์
ข่าวออกสื่อ
ความคืบหน้า
เกร็ดความรู้
ภาพรวมโครงการ
ภาพอนาคต
ผังแม่บท
ทัศนียภาพของโครงการ
ความคืบหน้า
ดาวน์โหลด
โครงการพัฒนาพื้นที่ย่านย่านท่าพระจันทร์-ท่าช้าง-ท่าเตียน
ย่านท่าพระจันทร์-ท่าช้าง-ท่าเตียน คือหนึ่งในพื้นที่ยุทธศาสตร์ของกลุ่มเมืองเก่ารัตนโกสินทร์ตามแผนฟื้นฟูเมืองกรุงเทพฯ250 ที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมสูงสุด
ที่ตั้ง ณ “หัวแหวนของกรุงรัตนโกสินทร์”
ที่ตั้ง ณ “หัวแหวนของกรุงรัตนโกสินทร์” คือรอยต่อเชื่อมสำคัญของเมืองหลวง 2 ยุคสมัย จากกรุงธนฯ สู่กรุงเทพฯ
การลดลงของจำนวนประชากรเวลากลางวัน
การลดลงของจำนวนประชากรเวลากลางวัน และการหดตัวของเศรษฐกิจท้องถิ่นอย่างต่อเนื่อง หลังประกาศใช้แผนแม่บทเพื่อการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ 2538
การเหินของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวแบบแมส
การเหินของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวแบบแมส ที่เน้นกลุ่มนักท่องเที่ยวต่างชาติ และขาดการวางแผนและจัดการ นำมาซึ่งสารพัดปัญหาในพื้นที่
โอกาสและความท้าทายในการฟื้นฟูย่าน
โอกาสและความท้าทายในการฟื้นฟูย่าน ที่มากับการพัฒนาระบบราง เพื่อสร้างดุลยภาพใหม่ทางสังคมและเศรษฐกิจของคนกลุ่มต่างๆในพื้นที่ รวมทั้งนักท่องเที่ยวชาวไทย ในการเข้าถึงพื้นที่ริมน้ำและเรียนรู้มรดกวัฒนธรรมของย่านประวัติศาสตร์แห่งนี้
เป็นพื้นที่ต่อเนื่องกับพื้นที่นำร่อง
“ย่านท่าพระจันทร์-ท่าช้าง-ท่าเตียน” เป็นพื้นที่ต่อเนื่องกับพื้นที่นำร่อง “ย่านกะดีจีน-คลองสาน” ของแผนกรุงเทพฯ250 ระยะที่ 1 (พ.ย. 2557 - ก.ค. 2558) การฟื้นฟูย่านประวัติศาสตร์ริมน้ำทั้งสอง จึงเป็นการผสานภาพ “กรุงธน-กรุงเทพฯ” ในกลับมาเด่นชัด เริ่มต้นเลยในปี 2560 ที่กรุงธนฯ ครบรอบ 250 ปี
ภาพอนาคต
ย่านชุมชนพักอาศัยริมน้ำหนาแน่นสูงคุณภาพดี
(Unique Riverside Mixed Nieghborhood High Density)
แนวคิด
ย่านชุมชนดั้งเดิม-ใหม่ละแวกบ้านชั้นดี
คุณภาพของการอยู่อาศัยที่ดีและมีอัตลักษณ์
ย่านที่อยู่อาศัยแบบผสมผสาน
การออกแบบ
อนุรักษ์ฟื้นฟูอาคารที่มีคุณค่าให้เป็นที่อ่อาศัย และมีการใช้ประโยชน์ใหม่
ฟื้นฟูบูรณะอาคารเดิมให้มีการใช้ประโยชน์ผสมผสาน
พัฒนาที่อยู่อาศัยความหนาแน่นสูงมีคุณภาพดีในย่านเก่า
เครือข่ายการท่องเที่ยวมรกดท้องถิ่นชั้นนำ
(Leading Local Heritage Tourism Cluster)
แนวคิด
แหล่งที่จุดหมายปลายทางชั้นนำ (Tourist Destination)
การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
เครือข่ายการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวในพื้นที่อย่างสมดุล
การออกแบบ
เชื่อมโยงโครงข่ายการท่องเที่ยวมรดกวัฒนธรรม
เพิ่มเติม ปรับปรุงสิ่งอำนวยความสะดวกด้ารการท่องเที่ยว
อนุรักษ์ ฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยวสำคัญในพื้นที่
ย่านชุมชนสร้างสรรค์ร่วมสมัย
(Contemporary Community base Creative District)
แนวคิด
ย่านที่ถูกขับเคลื่อนด้วยเศรษฐกิจสร้างสรรค์ร่วมสมัย
การพัฒนาแหล่งพลังงานใหม่ จากฐานของชุมชนและทุนทางสังคมในพื้นที่
การออกแบบ
ปรับปรุง เพิ่มเติมพื้นที่ที่เป็นแหล่งทำงาน ผลิตสินค้าและบริการ
ปรับปรุง เพิ่มเติมพื้นที่แสดงงาน และพบปะของกลุ่มคนในเศรษฐกิจสร้างสรรค์
ปรับปรุง เพิ่มเติมพื้นที่พักอาศัยของกลุ่มคนในเศรษฐกิจสร้างสรรค์
ต้นแบบธุรกิจจากมรดกท้องถิ่น
(Local Heritage Business Showcase)
แนวคิด
การส่งเสริมการพัฒนาต้นแบบของธุรกิจจากการสร้างสรรค์ของมรดกในพื้นที่
การกระจายรายได้สู่ชุมชนจากโอกาสในการพัฒนาใหม่
การออกแบบ
ปรับปรุง สร้างให้เกิดพื้นที่จำหน่ายสินค้าและบริการวิสาหกิจชุมชน
ปรับปรุง ฟื้นฟูที่มรดกวัฒนธรรมให้เป็รต้นแบบธุรกิจ
สร้างให้เกิดศูนย์กลางวิสาหกิจชุมชน
พื้นที่สาธารณะร่วมของหลากวัฒนธรรม
(Multi-Culturally Integrated Public Space)
แนวคิด
การสร้างพื้นที่สาธรณะที่ใช้ร่วมกันระหหว่างหลายกลุ่มวัฒนธรรม
การบูรณาการอย่างแนบแน่นกับความหลากหลายและการใช้พื้นที่ในช่วงเวลาต่างๆในหลายระดับ
การออกแบบ
สร้างให้เกิด ปรับปรุงพื้นที่สาธรณะระดับชุมชน ย่าน และเมือง
ผังแม่บท
ทัศนียภาพของโครงการ
วีดีโอโครงการ
กรุงเทพฯ 250 โครงการนำร่องการอนุรักษ์ฟื้นฟูย่านกะดีจีน คลองสาน
เอกสารของโครงการ
ท่านสามารถดาวน์โหลดเอกสารต่าง ๆ ของโครงการได้ที่นี่