โครงการกรุงเทพฯ 250
โครงการฟื้นฟูเมืองของกรุงเทพฯ ที่มีเป้าหมายเพื่อพลิกฟื้นพื้นที่ย่านเมืองเก่า
ให้น่าอยู่ มีประสิทธิภาพ เป็นมหานครระดับโลก ในวาระครบ 250 ปี ในปี 2575
ให้น่าอยู่ มีประสิทธิภาพ เป็นมหานครระดับโลก ในวาระครบ 250 ปี ในปี 2575
2450s
เริ่มต้นการพัฒนาเมือง
2500s
เริ่มต้นการแผ่ขยายไปชานเมือง
2530s
พื้นที่กลางเมืองเริ่มเสื่อมโทรม
2540s
มีระบบรางโดยรวม คนกลับเข้าเมือง
พร้อมการแผ่ขยายไปชานเมืองอย่างต่อเนื่อง
พร้อมการแผ่ขยายไปชานเมืองอย่างต่อเนื่อง
วัตถุประสงค์ของโครงการ
1. การจัดทำผังแม่บทการฟื้นฟูย่านเมืองเก่าครอบคลุมเขตพื้นที่การปกครองของกรุงเทพมหานครฯ ในบริเวณ ย่านเมืองเก่า 17 เขต
2. การดำเนินโครงการฟื้นฟูเมืองนำร่องในย่านเมืองเก่า
การดำเนินการวางแผนฟื้นฟุเมืองด้วยวิธีการมองอนาคต Foresight technique
กระบวนการคาดการณ์เหตุการณ์ในอนาคตอย่างเป็นระบบโดยคำนึงถึงปัจจัยรอบด้านที่เป็นทั้งแรงผลักดันอุปสรรค และความไม่แน่นอนที่อาจพลิกผันสถานการณ์ได้ กระบวนการวางแผนพัฒนาและฟื้นฟูเมืองด้วยวิธีการคาดการณ์อนาคต จึงเป็นทางเลือกที่ช่วยเติมเต็มกระบวนการวางแผนด้วยวิธีการที่ปฎิบัติต่อเนื่องมา ทำให้แผนยุทธศาสตร์มีความสอดคล้องกับบริบทการพัฒนาระยะยาวที่มีความเป็นพลวัตสูง
กระบวนการหารือร่วมกันระหว่างภาคียุทธศตร์และผู้มีส่วนได้เสีย Deliberative process
กระบวนการวางแผนแบบร่วมหารือแตกต่างจากที่การวางแผนโดยทั่วไปโดยไม่เน้นเฉพาะการวางแผน เพื่อปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อมเชิงกายภาพ แต่รวมไปถึงการปรับเปลี่ยนความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและองค์กรในสังคม โดยการสร้างโอกาสและเวทีในการร่วมเจรจาและหารือของภาคีการพัฒนา อันนำไปสู่การค้นหาคำตอบร่วมกัน เพื่อให้ขอบเขตของการฟื้นฟุเมืองครอบคลุมพื้นที่และประเด็นที่หลากหลาย และสร้างความเป็นเจ้าของร่วมกัน ในการผลักดันโครงการฟื้นฟูเมืองให้เกิดผลเป็นรูปธรรม
10 เทรนด์ 8 ย่าน 6 การเปลี่ยนแปลง
- 10 เทรนด์การใช้ชีวิตในเมือง
- 8 ย่านใหม่ของกรุงเทพฯ
- 6 การเปลี่ยนแปลงเชิงกายภาพ
- ชีวิตเรียนรู้
ทุกที่ทุกเวลา - รางเชื่อมเมือง
- อิสระแห่ง
การทำงาน - การบริการ
สาธารณะที่สะดวก - บูรณาการของ
การท่องเที่ยว
เชิงวัฒนธรรม - อุตสาหกรรมใหม่
กลางเมือง - แหล่งพลังงาน
หลากหลายที่เป็น
มิตรต่อสิ่งแวดล้อม - โครงการสร้าง
ประชากรใหม่ - ความปกติใหม่
ของชีวิตคนเมือง - การพัฒนา
อย่างทั่วถึง
(Ubiquitous Life – ชีวิตเรียนรู้ทุกที่ทุกเวลา)
- วิถีชีวิตของคนเมืองที่พึ่งพาเทคโนโลยีสารสนเทศและอุปกรณ์สื่อสารพกพาเป็นปัจจัยที่ 5
- การเรียนรู้ทุกที่ทุกเวลาโดยไม่มีเงื่อนไขของสถานที่ ระยะทาง และเวลา
- การเกิดพื้นที่สาธาณะที่ปกป้องคนเมืองจากการถูกคุกคามด้วยข้อมูลและข่าวสารออนไลน์
(Connected Track – รางเชื่อมเมือง)
- การพัฒนาพื้นที่โดยรอบสถานีรถไฟฟ้ามีบทบาทสำคัญในการดึงดูดให้ผู้คนมาใช้ระบบการขนส่งทางรางในชีวิตประจำวันมากขึ้น
- การจัดการพื้นที่ที่มีประสิทธิภาพทำให้กิจกรรมการเปลี่ยนถ่ายการสัญจรสู่ระบบขนส่งกึ่งสาธารณะและระบบขนส่งทางน้ำมีประสิทธิภาพ
- ความสะดวกของระบบขนส่งส่งผลดีต่อธุรกิจการจัดส่งสินค้าถึงบ้านที่จะได้รับความนิยมมากขึ้น ผู้คนจะเดินทางเพื่อจับจ่ายใช้สอยน้อยลง(Performance -based)
(Freedom of Work – อิสระแห่งการทำงาน)
- การทำงานออนไลน์ (Online Working)
- คนรุ่นใหม่มีวิถีการทำงานที่ยืดหยุ่น ไม่ยึดติด
- การประเมินคุณค่าในการทำงานจะมุ่งมาที่ประสิทธิภาพงาน (Performance -based)
- ต้นทุนและข้อจำกัดในการริเริ่มธุรกิจที่น้อยลง
- เกิดวิถีการทำงานรูปแบบใหม่ เช่น Co-working space หรือ Sharing office กระจายอยู่ทั่วไปในพื้นที่เมือง
(Convenient Public Service – การบริการสาธารณะที่สะดวก)
- การพัฒนาจุดบริการแบบครบวงจรบนความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชน
- การบริการแบบครบวงจรและมีประสิทธิภาพผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ
- การมีส่วนร่วมของประชาชนในการตรวจสอบการบริหารงานของภาครัฐผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ
(Integrated Cultural Tourism – บูรณาการของการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม)
- การเกิดพื้นที่ทางวัฒนธรรมที่หลากหลาย สอดรับกับเทรนด์การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมแนวใหม่ เน้นการสัมผัสประสบการณ์จริง
- การลดบทบาทลงของการท่องเที่ยวแบบชะโงกหน้าดูจากรถทัวร์
- ธุรกิจที่ดินในย่านเมืองเก่าถีบราคาพุ่งสูง เกิดการปรับเปลี่ยนรูปแบบการถ่ายโอนกรรมสิทธิ์ จากการซื้อขายขาด เป็นปล่อยเช่าแบบระยะยาว
- นักท่องเที่ยวเปลี่ยนพฤติกรรมการจับจ่ายใช้สอยในพื้นที่เป็นการซื้อของที่ระลึกผ่านแอพพลิเคชั่นต่างๆ ออนไลน์
(New Urban Industries – การผลิตใหม่กลางเมือง)
- การผลิตใหม่กลางเมืองที่ขับเคลื่อนโดยเทคโนโลยีการผลิตที่สะอาดและระบบการผลิตขนาดเล็ก
- เป็นการผลิตเพื่อตอบสนองไลฟ์สไตล์เมืองในอนาคต อาทิ อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและสุขภาพ อุตสาหกรรมการเกษตรทางเลือกกลางเมือง อุตสาหกรรมการผลิตโดยเครื่องพิมพ์ 3 มิติ ฯลฯ
(Diversified Environmental / Friendly Energy Sources – แหล่งพลังงานหลากหลายที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม)
- แนวโน้มการลดการพึ่งพาพลังงานจากน้ำมัน มาเป็นการใช้แหล่งพลังงานหลากหลายที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
- ภูมิทัศน์เมืองที่สัมพันธ์กับพลังงานเปลี่ยนแปลงไป เช่น ปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิงฟอสซิลค่อยๆ ลดจำนวนลง โดยมีสถานีจ่ายพลังงานทางเลือกใต้อาคารเข้ามาแทนที่ เป็นต้น
- การพัฒนาแหล่งพลังงานทางเลือกระดับชุมชน อาทิ พลังงานขยะ พลังงานแสงแดด รวมถึงพลังงานที่ได้จากการเดินเท้าหรือออกกำลังกาย ฯลฯ
(Land & Space for New Bangkokian – การใช้ประโยชน์ที่ดินและพื้นที่รองรับโครงสร้างประชากรกทม. ใหม่)
- การพัฒนาอาคารเก่าเพื่อเป็น Sharing housing หรือดัดแปลงอาคารเก่าขนาดเล็กเพื่อเป็นที่อยู่อาศัยและที่ทำงานในรูปแบบ SOHO (Small office home office) มากขึ้น
- การพัฒนาพื้นที่สาธารณะทางแนวตั้ง อาทิ สวนสาธารณะลอยฟ้า หอศิลป์ลอยฟ้า โบสถ์ลอยฟ้า ฯลฯ
- การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินของย่านศูนย์ราชการเดิมเพื่อประโยชน์ใช้สอยใหม่ที่เหมาะสมกับบริบทการพัฒนาร่วมสมัย
- การขับเคลื่อนและสร้างอัตลักษณ์ใหม่จากการแทนที่ของกิจกรรมใหม่และคนกลุ่มเล็กที่มีบทบาทชัดเจนขึ้นในสังคม เช่น กลุ่มศิลปิน หรือชาวต่างชาติ เป็นต้น
(Urbanite’s New Normal – ความปกติใหม่ของชีวิตคนเมือง)
- การหล่อหลอมรวมกันของวัฒนธรรมหลากหลายอย่างสร้างสรรค์
- รูปแบบการดำเนินชีวิตที่แตกต่างกันมากขึ้นตามรายได้ รสนิยม และอุดมคติ
- การพัฒนาพื้นที่สาธารณะเฉพาะกลุ่มสะท้อนให้เห็นความเหลื่อมล้ำของสังคมรูปแบบใหม่
- ความขัดแย้งจากการกีดกัน ความเหลื่อมล้ำ และความผูกพันที่ลดน้อยลงระหว่างกลุ่มคนกับพื้นที่ จะนำไปสู่การแสวงหาสมดุลเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข
(Inclusive Development – การพัฒนาอย่างทั่วถึง)
- การพัฒนาบนพื้นฐานในการสร้างโอกาสให้กับคนทุกกลุ่มในสังคมอย่างเสมอภาพ
- การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกลุ่มคน เพื่อลดปัญหาทางสังคมที่อาจเกิดในภายหน้า
- การให้สิทธิประชาชนต่อพลเมืองพลัดถิ่นในระดับที่เท่าเทียมกับพลเมืองไทย
- การพัฒนาธุรกิจที่มีความแตกต่างหลากหลายเฉพาะทาง เพื่อรองรับกลุ่มประชากรประเภทต่างๆ ในสังคมเมือง
- ย่านประวัติศาสตร์
- ย่านศูนย์ราชการ
- ย่านการผลิตใหม่
- ย่านนานาชาติ
- ย่านพาณิชยกรรม
- ย่านที่อยู่อาศัย
- ย่านสร้างสรรค์
- ย่านอัจฉริยะ
-
1
บ้านหม้อ/พาหุรัด1
district number 1 -
2
บางลำพู/ข้าวสาร/ท่าพระอาทิตย์2
district number 2 -
3
วังบูรพา3
district number 3 -
4
เสาชิงช้า4
district number 4 -
5
ปากคลองตลาด5
district number 5 -
6
ราชดำเนินกลาง6
district number 6 -
7
บางขุนพรหม7
district number 7 -
8
ท่าช้าง/ท่าพระจันทร์/สนามหลวง8
district number 8 -
9
ท่าเตียน9
district number 9 -
10
สามแพร่ง10
district number 10 -
11
นางเลิ้ง11
district number 11 -
12
วัดโสม12
district number 12 -
13
สะพานขาว/โบ๊เบ๊13
district number 13 -
14
วงเวียน 22 กรกฎา14
district number 14 -
15
วัดมังกร15
district number 15 -
16
วัดสะเกศ/บ้านบาตร16
district number 16 -
17
คลองถม17
district number 17 -
18
สำเพ็ง18
district number 18 -
19
เวิ้งนาครเขษม19
district number 19 -
20
ทรงวาด20
district number 20 -
21
เยาวราช21
district number 21 -
22
ตลาดน้อย22
district number 22 -
23
เลื่อนฤทธิ์23
district number 23 -
24
หัวลำโพง/รองเมือง24
district number 24 -
25
จุฬาลงกรมหาวิทยาลัย25
district number 25 -
26
ปทุมวัน/สยามสแควร26
district number 26 -
27
ราชประสงค์27
district number 27 -
28
ถนนวิทยุ28
district number 28 -
29
หลังสวน/สารสิน29
district number 29 -
30
สี่พระยา30
district number 30 -
31
บางรัก31
district number 31 -
32
สีลม/สาทร32
district number 32 -
33
สถานีแม่น้ำ33
district number 33 -
34
สะพานปลา/ยานนาวา34
district number 34 -
35
งามดูพลี/ถนนศรีบำเพ็ญ35
district number 35 -
36
ถนนตก36
district number 36 -
37
พระราม 337
district number 37 -
38
เทเวศน์38
district number 38 -
39
สนามม้า/ศูนย์ราชการ39
district number 39 -
40
สามเสน40
district number 40 -
41
เกียกกาย/บางกระบือ41
district number 41 -
42
ราชวัตร42
district number 42 -
43
สะพานควาย43
district number 43 -
44
อารีย์44
district number 44 -
45
สนามเป้า45
district number 45 -
46
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ46
district number 46 -
47
ถนนโยธี/ราชวิถ47
district number 47 -
48
บ้านครัวเหนือ48
district number 48 -
49
ประตูน้ำ49
district number 49 -
50
มักกะสัน50
district number 50 -
51
สถานีรถไฟฟ้าพญาไท51
district number 51 -
52
กะดีจีน/วัดกัลยาณ52
district number 52 -
53
ตลาดพลู53
district number 53 -
54
ดาวคะนอง54
district number 54 -
55
วงเวียนใหญ่55
district number 55 -
56
คลองสาน56
district number 56 -
57
ท่าดินแดง57
district number 57 -
58
เจริญนคร58
district number 58 -
59
สถานีรถไฟฟ้ากรุงธนฯ59
district number 59 -
60
วังหลัง/วัดระฆัง60
district number 60 -
61
ปากคลองบางกอกน้อย61
district number 61 -
62
ปากคลองชักพระ62
district number 62 -
63
บางขุนนนท์63
district number 63 -
64
อรุณอมรินทร64
district number 64 -
65
วังเดิม/กรมอู่65
district number 65 -
66
ท่าพระ66
district number 66 -
67
บางยี่ขัน67
district number 67 -
68
บางบำหรุ68
district number 68 -
69
วัดราชโอรส/วัดนางนอง69
district number 69 -
70
ศูนย์คมนาคมกรุงเทพใต้70
district number 70 -
71
เกาะรัตนโกสินทร์71
district number 71 -
72
แม่น้ำเจ้าพระยา72
district number 72 -
73
คลองรอบกรุง73
district number 73 -
74
คลองผดุงกรุงเกษม74
district number 74 -
75
คลองบางหลวง75
district number 75
ย่านที่มีประวัติการตั้งถิ่นฐานมาเป็นระยะเวลานาน มีองค์ประกอบที่มีคุณค่าเชิงประวัติศาสตร์ และมรดกทางวัฒนธรรมหลงเหลืออยู่ โดยส่วนใหญ่แล้วมักมีสัณฐาน
เชิงกายภาพที่สัมพันธ์กับภูมิศาสตร์ดั้งเดิมของพื้นที่เมือง และยังคงมีระบบกิจกรรมทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมที่สืบทอดต่อกันมาแม้กระทั่งในปัจจุบัน
-
2
บางลำพู/ข้าวสาร/ท่าพระอาทิตย์2
district number 2 -
3
วังบูรพา3
district number 3 -
4
เสาชิงช้า4
district number 4 -
5
ปากคลองตลาด5
district number 5 -
6
ราชดำเนินกลาง6
district number 6 -
7
บางขุนพรหม7
district number 7 -
8
ท่าช้าง/ท่าพระจันทร์/สนามหลวง8
district number 8 -
9
ท่าเตียน9
district number 9 -
10
สามแพร่ง10
district number 10 -
11
นางเลิ้ง11
district number 11 -
12
วัดโสม12
district number 12 -
16
วัดสะเกศ/บ้านบาตร16
district number 16 -
21
เยาวราช21
district number 21 -
22
ตลาดน้อย22
district number 22 -
23
เลื่อนฤทธิ์23
district number 23 -
38
เทเวศน์38
district number 38 -
48
บ้านครัวเหนือ48
district number 48 -
52
กะดีจีน/วัดกัลยาณ52
district number 52 -
53
ตลาดพลู53
district number 53 -
56
คลองสาน56
district number 56 -
57
ท่าดินแดง57
district number 57 -
60
วังหลัง/วัดระฆัง60
district number 60 -
61
ปากคลองบางกอกน้อย61
district number 61 -
62
ปากคลองชักพระ62
district number 62 -
63
บางขุนนนท์63
district number 63 -
65
วังเดิม/กรมอู่65
district number 65 -
67
บางยี่ขัน67
district number 67 -
69
วัดราชโอรส/วัดนางนอง69
district number 69 -
71
เกาะรัตนโกสินทร์71
district number 71 -
72
แม่น้ำเจ้าพระยา72
district number 72 -
73
คลองรอบกรุง73
district number 73 -
74
คลองผดุงกรุงเกษม74
district number 74 -
75
คลองบางหลวง75
district number 75
ย่านที่มีการใช้ประโยชน์ที่ดินส่วนใหญ่โดยสถาบันของภาครัฐ โดยมีวัตถุประสงค์ของหลักของการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อเป็นที่ตั้งของกลุ่มอาคารสานักงานของภาครัฐ
และเพื่อประโยชน์ใช้สอยประเภทอื่นๆ เช่น ที่พักอาศัย เป็นต้น
-
4
เสาชิงช้า4
district number 4 -
6
ราชดำเนินกลาง6
district number 6 -
7
บางขุนพรหม7
district number 7 -
8
ท่าช้าง/ท่าพระจันทร์/สนามหลวง8
district number 8 -
13
สะพานขาว/โบ๊เบ๊13
district number 13 -
25
จุฬาลงกรมหาวิทยาลัย25
district number 25 -
34
สะพานปลา/ยานนาวา34
district number 34 -
39
สนามม้า/ศูนย์ราชการ39
district number 39 -
41
เกียกกาย/บางกระบือ41
district number 41 -
45
สนามเป้า45
district number 45 -
46
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ46
district number 46 -
47
ถนนโยธี/ราชวิถ47
district number 47
ย่านเก่าที่ได้รับการขับเคลื่อนใหม่ด้วยระบบอุตสาหกรรมรูปแบบใหม่ โดยมีแนวโน้มเป็นเป็นอุตสาหกรรมสีเขียวที่มีระบบการผลิตขนาดเล็กลงด้วยระบบนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการผลิตในอนาคต
-
24
หัวลำโพง/รองเมือง24
district number 24 -
26
ปทุมวัน/สยามสแควร26
district number 26 -
34
สะพานปลา/ยานนาวา34
district number 34 -
35
งามดูพลี/ถนนศรีบำเพ็ญ35
district number 35 -
52
กะดีจีน/วัดกัลยาณ52
district number 52
ย่านเก่าที่ได้รับการขับเคลื่อนใหม่จากการรวมตัวกันของประชากรต่างด้าวที่อพยพเข้ามาอาศัยอยู่ในประเทศไทย โดยมีขอบเขตคลอบคลุมทั้งย่านที่มีพัฒนาการมาเป็นระยะเวลานาน และย่านที่กาลังอยู่ในระหว่างการสะสมตัวของกลุ่มประชากร
ย่านนานาชาติ (ทั่วไป)
ย่านนานาชาติ (ฝีมือ)
-
1
บ้านหม้อ/พาหุรัด1
district number 1 -
56
คลองสาน56
district number 56 -
71
เกาะรัตนโกสินทร์71
district number 71
-
31
บางรัก31
district number 31 -
70
ศูนย์คมนาคมกรุงเทพใต้70
district number 70
ย่านที่เป็นพื้นที่ศูนย์กลางทางธุรกิจและกิจกรรมทางการค้าทั้งในอดีตและปัจจุบัน มักมีความหนาแน่นของระบบกายภาพและกิจกรรมสูงกว่าพื้นที่เมืองบริเวณอื่นๆ
ประกอบไปด้วยกลุ่มอาคารที่มีความหลากหลาย เช่น อาคารแถว สำนักงาน อาคารสูง ห้างสรรพสินค้า เป็นต้น
ย่านพาณิชยกรรมสำนักงาน
ย่านพาณิชยกรรมค้าปลีก
ย่านศูนย์กลางพาณิชยกรรมใหม่
-
6
ราชดำเนินกลาง6
district number 6 -
7
บางขุนพรหม7
district number 7 -
15
วัดมังกร15
district number 15 -
24
หัวลำโพง/รองเมือง24
district number 24 -
25
จุฬาลงกรมหาวิทยาลัย25
district number 25 -
26
ปทุมวัน/สยามสแควร26
district number 26 -
27
ราชประสงค์27
district number 27 -
28
ถนนวิทยุ28
district number 28 -
30
สี่พระยา30
district number 30 -
32
สีลม/สาทร32
district number 32 -
33
สถานีแม่น้ำ33
district number 33 -
34
สะพานปลา/ยานนาวา34
district number 34 -
50
มักกะสัน50
district number 50 -
60
วังหลัง/วัดระฆัง60
district number 60
-
3
วังบูรพา3
district number 3 -
12
วัดโสม12
district number 12 -
15
วัดมังกร15
district number 15 -
16
วัดสะเกศ/บ้านบาตร16
district number 16 -
17
คลองถม17
district number 17 -
18
สำเพ็ง18
district number 18 -
19
เวิ้งนาครเขษม19
district number 19 -
20
ทรงวาด20
district number 20 -
21
เยาวราช21
district number 21 -
24
หัวลำโพง/รองเมือง24
district number 24 -
26
ปทุมวัน/สยามสแควร26
district number 26 -
27
ราชประสงค์27
district number 27 -
33
สถานีแม่น้ำ33
district number 33 -
37
พระราม 337
district number 37 -
38
เทเวศน์38
district number 38 -
46
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ46
district number 46 -
47
ถนนโยธี/ราชวิถ47
district number 47 -
49
ประตูน้ำ49
district number 49 -
55
วงเวียนใหญ่55
district number 55 -
58
เจริญนคร58
district number 58 -
60
วังหลัง/วัดระฆัง60
district number 60 -
63
บางขุนนนท์63
district number 63 -
65
วังเดิม/กรมอู่65
district number 65 -
66
ท่าพระ66
district number 66 -
67
บางยี่ขัน67
district number 67 -
73
คลองรอบกรุง73
district number 73 -
74
คลองผดุงกรุงเกษม74
district number 74 -
75
คลองบางหลวง75
district number 75
-
4
เสาชิงช้า4
district number 4 -
15
วัดมังกร15
district number 15 -
24
หัวลำโพง/รองเมือง24
district number 24 -
25
จุฬาลงกรมหาวิทยาลัย25
district number 25 -
26
ปทุมวัน/สยามสแควร26
district number 26 -
27
ราชประสงค์27
district number 27 -
28
ถนนวิทยุ28
district number 28 -
29
หลังสวน/สารสิน29
district number 29 -
30
สี่พระยา30
district number 30 -
37
พระราม 337
district number 37 -
41
เกียกกาย/บางกระบือ41
district number 41 -
46
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ46
district number 46 -
65
วังเดิม/กรมอู่65
district number 65 -
73
คลองรอบกรุง73
district number 73 -
74
คลองผดุงกรุงเกษม74
district number 74 -
75
คลองบางหลวง75
district number 75
ย่านที่มีการใช้ประโยชน์ที่ดินส่วนใหญ่เพื่อการอยู่อาศัย มีรูปแบบที่มีความหลากหลาย คลอบคลุมทั้งย่านที่อยู่อาศัยทางแนวราบและแนวตั้ง
อาทิ ย่านที่อยู่อาศัยริมน้า ย่านตึกแถวและทาวเฮาส์ ย่านชุมชนแออัด ย่านหมู่บ้านจัดสรร ย่านหอพัก ย่านการเคหะ ย่านคอนโดมิเนียม ฯลฯ
ย่านที่อยู่อาศัยแนวสูง
ย่านที่อยู่อาศัยแนวราบ
-
14
วงเวียน 22 กรกฎา14
district number 14 -
20
ทรงวาด20
district number 20 -
21
เยาวราช21
district number 21 -
29
หลังสวน/สารสิน29
district number 29 -
37
พระราม 337
district number 37 -
43
สะพานควาย43
district number 43 -
44
อารีย์44
district number 44 -
51
สถานีรถไฟฟ้าพญาไท51
district number 51 -
53
ตลาดพลู53
district number 53 -
55
วงเวียนใหญ่55
district number 55 -
58
เจริญนคร58
district number 58 -
59
สถานีรถไฟฟ้ากรุงธนฯ59
district number 59 -
64
อรุณอมรินทร64
district number 64 -
66
ท่าพระ66
district number 66 -
67
บางยี่ขัน67
district number 67 -
70
ศูนย์คมนาคมกรุงเทพใต้70
district number 70
-
34
สะพานปลา/ยานนาวา34
district number 34 -
40
สามเสน40
district number 40 -
42
ราชวัตร42
district number 42 -
48
บ้านครัวเหนือ48
district number 48 -
52
กะดีจีน/วัดกัลยาณ52
district number 52 -
54
ดาวคะนอง54
district number 54 -
61
ปากคลองบางกอกน้อย61
district number 61 -
62
ปากคลองชักพระ62
district number 62 -
63
บางขุนนนท์63
district number 63 -
68
บางบำหรุ68
district number 68 -
69
วัดราชโอรส/วัดนางนอง69
district number 69
ย่านเก่าที่ได้รับการขับเคลื่อนใหม่ด้วยกลุ่มคนที่ทางานด้านศิลปะ การออกแบบ ดนตรี วรรณกรรม และการแสดง โดยกลุ่มคนเหล่านี้มักจะแสวงหาพื้นที่พักอาศัยที่ผนวกกับพื้นที่สร้างสรรค์งาน สามารถสร้างแรงบันดาลใจให้กับชีวิตได้ดีในขณะที่มีต้นทุนทางราคาที่ต่ำ
-
2
บางลำพู/ข้าวสาร/ท่าพระอาทิตย์2
district number 2 -
8
ท่าช้าง/ท่าพระจันทร์/สนามหลวง8
district number 8 -
9
ท่าเตียน9
district number 9 -
30
สี่พระยา30
district number 30 -
33
สถานีแม่น้ำ33
district number 33 -
35
งามดูพลี/ถนนศรีบำเพ็ญ35
district number 35 -
50
มักกะสัน50
district number 50 -
57
ท่าดินแดง57
district number 57
ย่านอัจฉริยะซึ่งขับเคลื่อนโดยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและระบบการสื่อสารบนโครงข่ายอิเลคโทรนิคส์
เป็นย่านที่มีขอบเขตของพื้นที่และประชากรที่คาดเคลื่อนจากพื้นที่ย่านในโลกแห่งความเป็นจริง
-
17
คลองถม17
district number 17 -
33
สถานีแม่น้ำ33
district number 33 -
36
ถนนตก36
district number 36 -
47
ถนนโยธี/ราชวิถ47
district number 47 -
71
เกาะรัตนโกสินทร์71
district number 71
- การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน
และอาคารเพื่อการพัฒนาที่อยู่อาศัย - การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน
จากระบบเศรษฐกิจ - การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน
ของย่านศูนย์ราชการ - การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน
จากการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมพหุวัฒนธรรม - การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเมือง
ด้านการขนส่ง - การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเมือง
ด้านอื่นๆ
- ความต้องการที่อยู่อาศัยขนาดเล็กในเขตเมืองชั้นในที่เพิ่มสูงขึ้น จากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างและขนาดของครอบครัว ผลักดันให้เกิดการพัฒนาพื้นที่ทางแนวตั้งในบริเวณชุมชนต่างๆ โดยเฉพาะพื้นที่โดยรอบพื้นที่จุดเปลี่ยนถ่ายการสัญจร เกิดปรากฎการณ์การเหินขึ้นของราคาพื้นที่อยู่อาศัยใจกลางเมือง และการซื้อขายเพื่อการเก็งกาไรมากกว่าการอยู่อาศัย
- การเปลี่ยนแปลงระบบกายภาพของพื้นที่ชุมชนเก่า เพื่อรองรับความต้องการด้านที่อยู่อาศัยของประชากรผู้มีรายได้น้อยถึงปานกลาง และประชากรแรงงานต่างชาติ ทั้งในรูปแบบของการเพิ่มความหนาแน่นทางแนวตั้งในรูปแบบของการพัฒนาใหม่และการเพิ่มความหนาแน่นทางแนวนอนภายใต้ขนาดของมวลอาคารเดิม
- การเปลี่ยนแปลงระบบการถ่ายโอนสิทธิการใช้ที่ดินและอาคาร เนื่องจากมูลค่าของที่ดินในย่านเก่าที่พุ่งสูงจากกลไกการพัฒนาทางตลาดที่ขับเคลื่อนด้วยระบบธุรกิจภาคอสังหาริมทรัพย์ และธุรกิจการท่องเที่ยว
- การลดลงของบทบาทของพื้นที่การค้าปลีกทั้งในระดับชุมชนและระดับเมือง ด้วยพฤติกรรมการบริโภคสินค้าผ่านการซื้อขายออนไลน์ และใช้บริการจัดส่งสินค้าถึงบ้านเป็นบรรทัดฐานของชีวิตประจาวัน
- การเกิดพื้นที่ Multi-CBD ตามการรวมกลุ่มของธุรกิจ (Business Cluster) ที่มีความชัดเจนยิ่งขึ้นในเขตเมืองชั้นในกรุงเทพมหานคร โดยมีปัจจัยขับเคลื่อนสาคัญคือการเปิดเสรีการค้าอาเซียนที่จะทาให้การเกิดลงทุนของกลุ่มธุรกิจข้ามชาติประเภทการวิจัยและพัฒนา (R&D) และเทคโนโลยีระดับสูงในพื้นที่เมืองกรุงเทพมหานครชั้นใน โดยเฉพาะทางด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและการแพทย์
- รูปแบบและวิธีการทางานที่เปลี่ยนแปลงไป เป็นการทางานแบบโครงข่ายของผู้ประกอบอาชีพอิสระ (Network of freelancers) ส่งผลทาให้เกิดความต้องพื้นที่เพื่อการทางานแบบใหม่ (Sharing office) ที่มีขนาดเล็กลง มีความยืดหยุ่นสูง และมีเทคโนโลยีทาง ICT ที่มีประสิทธิภาพ รวมถึงอาจผนวกอยู่ในพื้นที่พักอาศัย (SOHO)) เป็นสาเหตุทาให้ปริมาณความต้องการและรูปแบบของพื้นที่สานักงานในเขตเมืองชั้นในกรุงเทพมหานครในอนาคตเปลี่ยนแปลงไปจากปัจจุบัน
- การเจริญเติบโตของธุรกิจการท่องเที่ยวและการบริการรูปแบบใหม่ ที่เน้นตลาดกลุ่มทางเลือกขนาดเล็ก โดยมีจุดขายคือการมีประสบการณ์ร่วมกับพื้นที่และชุมชน เป็นสาเหตุสำคัญที่ทาให้เกิดการฟื้นฟูระบบกายภาพภายในย่านเมืองเก่าหลายแห่งในย่านเมืองเก่า โดยเฉพาะย่านที่อยู่อาศัยในพื้นที่สำคัญทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เพื่อรองรับกิจกรรมการท่องเที่ยวและการบริการ
- การพัฒนาระบบอุตสาหกรรมใหม่กลางเมือง ทั้งอุตสาหกรรมการเกษตรทางเลือกที่เกิดขึ้นจากการให้ความสำคัญต่อสุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชากรเมือง ส่งผลทาให้เกิดความต้องการสินค้าด้านอาหารที่เน้นความสะอาด และปลอดภัยจากสารพิษ พัฒนาไปสู่การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ทางกายภาพของเมืองเพื่อเป็นพื้นที่เกษตรกรรมระดับครัวเรือน/ชุมชน และการเกิดอุตสาหกรรมการเกษตรปลอดสารพิษใจกลางเมือง ตลอดจนอุตสาหกรรมการผลิตรูปแบบใหม่ ที่มีระบบการผลิตขนาดเล็ก และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
- การเปลี่ยนแปลงบทบาทและที่ตั้งของสถานที่ราชการในอนาคต จากการใช้พื้นที่สานักงานขนาดใหญ่แบบรวมศูนย์บนที่ดินของรัฐไปสู่การกระจายตัวใช้พื้นที่ขนาดเล็กบนอาคารสานักงานของภาคเอกชน ส่งผลทาให้เกิดแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินของย่านศูนย์ราชการเดิมในเขตเมืองชั้นในสู่รูปแบบใหม่ตามแต่บริบทการพัฒนา ส่วนพื้นที่ศูนย์ราชการขนาดใหญ่ที่ยังคงหลงเหลืออยู่จะเปลี่ยนแปลงบทบาทเป็น Back office ที่ทาหน้าที่เป็นคลังข้อมูลขนาดใหญ่ในอนาคต
- การเกิดพื้นที่ย่านใหม่ตามกลุ่มประเภทของประชากร ซ้อนทับไปบนพื้นที่ย่านดั้งเดิม โดยเฉพาะย่านที่เกิดขึ้นตามกลุ่มประชากรแรงงานต่างชาติ และกลุ่มคนที่ทางานด้านศิลปะและการสร้างสรรค์ เกิดการเปลี่ยนแปลงระบบอาคารและพื้นที่สาธารณะให้เหมาะสมกับระบบกิจกรรมของกลุ่มคนในพื้นที่
- การพัฒนาพื้นที่สาธารณะเพื่อเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มคนในสังคม เพื่อผสานความแตกต่าง การกีดดัน และลดความเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาความขัดแย้งระหว่างกลุ่มวัย เชื้อชาติ และวัฒนธรรมจากการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของประชากร
- การพัฒนาระบบขนส่งปลายทางที่มีประสิทธิภาพและหลากหลาย เพื่อรองรับการใช้ระบบการขนส่งทางรางที่เป็นรูปแบบการเดินหลักในชีวิตประจาวัน โดยมีทางเลือกสำคัญคือการพัฒนาคุณภาพของระบบขนส่งสาธารณะที่ไม่เป็นทางการ (Informal / Para-transportation) ให้มีมาตรฐาน และนาเทคโนโลยี ICT มาเป็นเครื่องมือพัฒนาประสิทธิภาพของการบริการ
- การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการเดินทางในระดับละแวกบ้าน เป็นการเดินเท้าและใช้จักรยานที่เพิ่มสูงขึ้น
- การเดินทางอย่างมีประสิทธิภาพและไร้รอยต่อ พฤติกรรมการเดินทางที่เปลี่ยนแปลงไปเป็นปริมาณการเดินทางเพื่อการทางานและการจับจ่ายใช้สอยที่ลดน้อยลง แต่เดินทางเพื่อการท่องเที่ยวและนันทนาการที่เพิ่มสูงขึ้น และมีความคาดหวังต่อประสิทธิภาพของการเดินทางสู่พื้นที่ศูนย์กลางกิจกรรมอย่างไร้รอยต่อได้ตลอดทั้ง 24 ชั่วโมง
- การพัฒนาระบบขนส่งสินค้าที่มีประสิทธิภาพ เพื่อรองรับระบบเศรษฐกิจรูปแบบใหม่ที่เน้นรูปแบบการซื้อขายผ่านตลาดออนไลน์ (E-commerce) และพึ่งพาธุรกิจการจัดส่งสินค้า
- การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยี โดยเฉพาะเทคโนโลยีทางด้านการสื่อสารและสนเทศ (ICT) อาทิ การเข้าถึงระบบข้อมูลและข่าวสาร การจัดการอภิมหาฐานข้อมูล การป้องกันภัยของระบบข้อมูลข่าวสาร เป็นต้น
- การแสวงหาพลังงานทางเลือกและทิศทางการพัฒนาเมืองที่คำนึงถึงสิ่งแวดล้อม จากการตระหนักถึงปัญหาการขาดแคลนพลังงานเพื่อรองรับระบบกิจกรรมบนพื้นที่เมือง และปัญหาภัยพิบัติที่เกิดขึ้นจากเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ นาไปสู่แนวคิดการพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานด้านพลังงานรูปแบบใหม่ อาทิ สถานีพลังงานทางเลือกระดับชุมชน และการขับเคลื่อนการพัฒนาระบบเศรษฐกิจคาร์บอนต่ำ (Low Carbon Economic) ตลอดจนให้ความสำคัญต่อการพัฒนาเมืองที่ตอบรับกับปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาวะแวดล้อมเมือง
- การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงของสังคม ภายใต้ระบบโครงสร้างทางประชากรที่เปลี่ยนแปลงไปเป็นสังคมผู้สูงอายุ สังคมพหุวัฒนธรรม และสังคมที่ยังคงมีระดับของความเหลื่อมล้าสูงเพื่อการดารงชีวิตอย่างมีคุณภาพและมีสุขภาวะ อาทิ สวนสาธารณะ ศูนย์สุขภาพ สถานที่ออกกาลังกาย
วิสัยทัศน์โครงการ
เชื่อมย่านสู่เมือง สร้างเมืองสู่วิถีชีวิตใหม่
Strategic Connectivity for Synergic Diversity
Strategic Connectivity for Synergic Diversity
ผังยุทธศาสตร์ การฟื้นฟูย่านเมืองเก่า
- แกนพื้นที่ย่านสร้างสรรค์ริมน้ำ
- แกนส่งเสริมพื้นที่สีเขียวระดับเมือง
- แกนส่งเสริมพื้นที่สีเขียวระดับย่าน
- แกนส่งเสริมการสัญจรริมน้ำ
- แกนรัศมีการเชื่อมต่อพื้นที่ชั้นนอกด้วยระบบถนนและราง
- แกนรัศมีการเชื่อมต่อพื้นที่ชั้นนอกด้วยระบบราง
- แกนการเชื่อมโยงพื้นที่ใต้ทางด่วน
- แกนการเชื่อมโยงระบบสัญจรรอง
- แกนการเชื่อมโยงทางน้ำ
- แกนเชื่อมโยงถนนรัศมีสู่ภูมิภาค
- แกนการเชื่อมโยถนนวงแหวนชั้นใน
- พื้นที่ประวัติศาสตร์ธนบุรี-รัตนโกสินทร์
- พื้นที่พาณิชยกรรมรัตนโกสินทร์ชั้นนอก
- พื้นที่พาณิชยกรรมศูนย์กลางเมือง
- พื้นที่ส่งเสริมการพัฒนาที่อยู่อาศัยหนาแน่นสูงชั้นดี
- พื้นที่ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ที่ดินในกรรมสิทธิ์ของรัฐ
- พื้นที่สีเขียวระดับเมืองในปัจจุบัน
- พื้นที่ส่งเสริมการพัฒนาให้มีพื้นที่สีเขียวสัดส่วนสูง
- จุดเปลี่ยนถ่ายการสัญจรและส่งเสริมกิจจกรมเชิงพาณิชยกรรม
- จุดส่งเสริมกิจกรรมเชิงพาณิชยกรรม
- จุดเปลี่ยนถ่ายการสัญจรริมน้ำ